ครั้งที่ 1
บันทึกอนุทิน
ประจำวันพุธที่ 7 มกราคม 2558
ประจำวันพุธที่ 7 มกราคม 2558
เนื้อหา
การจัดประสบการณ์คณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย แบ่งแยกออก 3 ส่วน ดังต่อไปนี้
* การจัดประสบการณ์ เช่น
- เรียนรู้ผ่านการเล่น
- ให้เด็กได้ลงมือกระทำด้วยตนเอง
- จัดกิจกรรมให้เด็กทำในห้องเรียน โดยการทำงานร่วมกับเพื่อนเป็นกลุ่มบ้าง เพื่อเปิดโอกาสให้เด็กได้มีการปรับตัวเข้ากับกลุ่มเพื่อนได้
* คณิตศาสตร์ เช่น
- รูปทรง เช่น สี่เหลี่ยม สามเหลียม วงกลม วงรี ทรงกระบอก ทรงกรวย เป็นต้น
- เส้น เช่น เส้นตรง เส้นโค้ง เส้นหยัก เป็นต้น
- ค่าของจำนวน เช่น 1-10
- การบวก ลบ คูณ หาร
* บวก คือ การทำให้เพิ่มขึ้น
* ลบ คือ การทำให้ลดลง
* คูณ คือ การเพิ่มขึ้นอย่างสม่ำเสมอ
* หาร คือ การลดลงอย่างสม่ำเสมอ
- ความหมายของคณิตศาสตร์
- ความสำคัญของคณิตศาสตร์
- แนวคิด คือ แนวคิดของนักการศึกษา เช่น แนวคิดเกี่ยวกับสติปัญญา ของเพียเจท์
- ทฤษฎี คือ เป็นที่ยอมรับและเผยแพร่กันทั่วโลก ซึ่งนำมาเป็นแนวทางในการสอนของครู
- หลักการคิด
- ประสบการณ์
- การจัดกิจกรรมทางคณิตศาสตร์
* เด็กปฐมวัย แบ่งได้เป็น 2 ส่วน คือ
- พัฒนาการ
* ความแตกต่างระหว่างบุคคล
* ความต้องการ
- วิธีการเรียนรู้ของเด็ก
* เด็กจะเรียนรู้ด้วยการเล่น โดยผ่านประสาทสัมผัส ทั้ง 5 คือ
ตา - ดู
หู - ฟัง
จมูก - ดมกลิ่น
ลิ้น - ชิมรส
กาย - สัมผัส
* ถ้าเด็กได้ลงมือกระทำด้วยตนเองจะทำให้เด็กเกิดการเรียนรู้มากยิ่งขิ้น
พัฒนาการ คือ
การเปลี่ยนแปลงที่เป็นไปตามลำดับขั้นตอนอย่างต่อเนื่อง ที่สะท้อนความสามารถของเด็กว่าจะสามารถทำอะไรได้บ้างในแต่ละช่วงอายุ
วิธีการสอน
การจัดประสบการณ์คณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย แบ่งแยกออก 3 ส่วน ดังต่อไปนี้
* การจัดประสบการณ์ เช่น
- เรียนรู้ผ่านการเล่น
- ให้เด็กได้ลงมือกระทำด้วยตนเอง
- จัดกิจกรรมให้เด็กทำในห้องเรียน โดยการทำงานร่วมกับเพื่อนเป็นกลุ่มบ้าง เพื่อเปิดโอกาสให้เด็กได้มีการปรับตัวเข้ากับกลุ่มเพื่อนได้
* คณิตศาสตร์ เช่น
- รูปทรง เช่น สี่เหลี่ยม สามเหลียม วงกลม วงรี ทรงกระบอก ทรงกรวย เป็นต้น
- เส้น เช่น เส้นตรง เส้นโค้ง เส้นหยัก เป็นต้น
- ค่าของจำนวน เช่น 1-10
- การบวก ลบ คูณ หาร
* บวก คือ การทำให้เพิ่มขึ้น
* ลบ คือ การทำให้ลดลง
* คูณ คือ การเพิ่มขึ้นอย่างสม่ำเสมอ
* หาร คือ การลดลงอย่างสม่ำเสมอ
- ความหมายของคณิตศาสตร์
- ความสำคัญของคณิตศาสตร์
- แนวคิด คือ แนวคิดของนักการศึกษา เช่น แนวคิดเกี่ยวกับสติปัญญา ของเพียเจท์
- ทฤษฎี คือ เป็นที่ยอมรับและเผยแพร่กันทั่วโลก ซึ่งนำมาเป็นแนวทางในการสอนของครู
- หลักการคิด
- ประสบการณ์
- การจัดกิจกรรมทางคณิตศาสตร์
* เด็กปฐมวัย แบ่งได้เป็น 2 ส่วน คือ
- พัฒนาการ
* ความแตกต่างระหว่างบุคคล
* ความต้องการ
- วิธีการเรียนรู้ของเด็ก
* เด็กจะเรียนรู้ด้วยการเล่น โดยผ่านประสาทสัมผัส ทั้ง 5 คือ
ตา - ดู
หู - ฟัง
จมูก - ดมกลิ่น
ลิ้น - ชิมรส
กาย - สัมผัส
* ถ้าเด็กได้ลงมือกระทำด้วยตนเองจะทำให้เด็กเกิดการเรียนรู้มากยิ่งขิ้น
พัฒนาการ คือ
การเปลี่ยนแปลงที่เป็นไปตามลำดับขั้นตอนอย่างต่อเนื่อง ที่สะท้อนความสามารถของเด็กว่าจะสามารถทำอะไรได้บ้างในแต่ละช่วงอายุ
วิธีการสอน
- ใช้การระดมความคิด
- เทคนิคการใช้คำถาม เช่น นึกถึงอะไร..ให้ตอบ เป็นคำถามปลายเปิด ซึ่งทำให้ผู้เรียนมีความเชื่อมั่นและกล้าในการตอบมากยิ่งขึ้น
- ใช้โปรแกรม Mind Map (สรุปความคิดเห็นให้เป็นหมวดหมู่)
ทักษะ
- ทักษะการคิดวิเคราะห์
- ทักษะในการตอบคำถาม
การนำไปประยุกต์ใช้
- นำไปใช้เป็นแนวทางในการจัดการเรียนการสอนในห้องเรียน เป็นแนวทางที่ดีในการจัดประสบการณ์คณิตศาสตร์ให้แก่เด็กปฐมวัย เพื่อให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
บรรยากาศในการเรียน
- มีแสงสว่างเพียงพอ โต๊ะเก้าอี้จัดเป็นระเบียบเรียบร้อย มีวัสดุอุปกรณ์ที่พร้อม
ประเมินตนเอง
- ตั้งใจเรียน และมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็น
ประเมินเพื่อน
- เพื่อนๆตั้งใจฟัง และช่วยกันตอบคำถาม มีการแบ่งปันความรู้อยู่ตลอดเวลา
ประเมินอาจารย์ผู้สอน
- มีน้ำเสียงสูงต่ำ ตามจังหวะ เพื่อกระตุ้นให้นักศึกษากระตือรือล้นในการเรียนมากยิ่งขึ้น ใช้คำถามเพื่อให้นักศึกษาเเสดงความคิดเห็นอยู่ตลอดเวลา อาจารย์มีบุคลิกภาพที่ดี มีการแต่งกายเรียบร้อย
- เทคนิคการใช้คำถาม เช่น นึกถึงอะไร..ให้ตอบ เป็นคำถามปลายเปิด ซึ่งทำให้ผู้เรียนมีความเชื่อมั่นและกล้าในการตอบมากยิ่งขึ้น
- ใช้โปรแกรม Mind Map (สรุปความคิดเห็นให้เป็นหมวดหมู่)
ทักษะ
- ทักษะการคิดวิเคราะห์
- ทักษะในการตอบคำถาม
การนำไปประยุกต์ใช้
- นำไปใช้เป็นแนวทางในการจัดการเรียนการสอนในห้องเรียน เป็นแนวทางที่ดีในการจัดประสบการณ์คณิตศาสตร์ให้แก่เด็กปฐมวัย เพื่อให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
บรรยากาศในการเรียน
- มีแสงสว่างเพียงพอ โต๊ะเก้าอี้จัดเป็นระเบียบเรียบร้อย มีวัสดุอุปกรณ์ที่พร้อม
ประเมินตนเอง
ประเมินเพื่อน
- เพื่อนๆตั้งใจฟัง และช่วยกันตอบคำถาม มีการแบ่งปันความรู้อยู่ตลอดเวลา
ประเมินอาจารย์ผู้สอน
- มีน้ำเสียงสูงต่ำ ตามจังหวะ เพื่อกระตุ้นให้นักศึกษากระตือรือล้นในการเรียนมากยิ่งขึ้น ใช้คำถามเพื่อให้นักศึกษาเเสดงความคิดเห็นอยู่ตลอดเวลา อาจารย์มีบุคลิกภาพที่ดี มีการแต่งกายเรียบร้อย
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น